เคลียให้ชัด!!! กฎหมาย PDPA

เคลียให้ชัด!!! กฎหมาย PDPA

PDPA มีขึ้นเพื่อให้เอกชน และรัฐที่เกี่ยวข้อง ที่เก็บรวบรวม ใช้ เปิดเผย และ/หรือ โอน ‘ข้อมูลส่วนบุคคล’ ในไทยให้เป็นไปตามมาตรการปกป้องข้อมูลของผู้อื่นจากการถูกละเมิดสิทธิส่วนตัว โดยต้องขอความยินยอมจาก‘เจ้าของข้อมูล’ ก่อนเก็บ รวบรวม ใช้ หรือเปิดเผย

PDPA มีขึ้นเพื่อให้เอกชน และรัฐที่เกี่ยวข้อง ที่เก็บรวบรวม ใช้ เปิดเผย และ/หรือ โอน ‘ข้อมูลส่วนบุคคล’ ในไทยให้เป็นไปตามมาตรการปกป้องข้อมูลของผู้อื่นจากการถูกละเมิดสิทธิ์ส่วนตัว โดยต้องขอความยินยอมจาก‘เจ้าของข้อมูล’ ก่อนเก็บ รวบรวม ใช้ หรือเปิดเผย

เคลียให้ชัด!!! กฎหมาย PDPA

เคลียให้ชัด!!! กฎหมาย PDPA

- ถ่ายเซลฟี่-รูปรวมกับเพื่อนในที่สาธารณะแล้วติดภาพคนอื่นผิดหรือไม่ ?
คำตอบ : ถ้าวัตถุประสงค์ตอนถ่ายเน้นที่ตัวเรา-เพื่อนเป็นหลัก เป็นสิทธิที่ทำได้ ซึ่งการมีภาพคนอื่นติดเป็นฉากหลังโดยที่เราไม่ตั้งใจ "ไม่ผิด" เพราะการจะผิดกฎหมายได้ต้องมีความจงใจหรือเจตนา
.
- คนที่เราถ่ายรูปติด มีสิทธิขอให้ลบรูปนั้นได้หรือไม่ ?
คำตอบ : "ได้" ดังนั้น ก่อนลงภาพ-คลิปอาจใช้วิธีเบลอหรือติดสติกเกอร์ทับใบหน้า
.
-นำคลิป-รูปถ่าย รีวิวร้านอาหารหรือสถานที่ท่องเที่ยว ที่ติดใบหน้าคนอื่นไปโพสต์โซเชียลมีเดียผิดหรือไม่ ?
คำตอบ : "ไม่ผิด" สามารถโพสต์ได้ หากใช้เพื่อวัตถุประสงค์ส่วนตัว ไม่ใช้แสวงหากำไรทางการค้าและไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล แต่หากมีการซูมภาพหรือเน้นไปที่ใบหน้า-ร่างกายของบุคคลอื่นโดยมีเจตนาอย่างชัดเจน และใช้เชิงพาณิชย์ ถือว่า "ผิด" .
- ถ่ายเซลฟี่-รูปรวมกับเพื่อนในที่สาธารณะแล้วติดภาพคนอื่นผิดหรือไม่ ?
คำตอบ : ถ้าวัตถุประสงค์ตอนถ่ายเน้นที่ตัวเรา-เพื่อนเป็นหลัก เป็นสิทธิที่ทำได้ ซึ่งการมีภาพคนอื่นติดเป็นฉากหลังโดยที่เราไม่ตั้งใจ "ไม่ผิด" เพราะการจะผิดกฎหมายได้ต้องมีความจงใจหรือเจตนา
.
- คนที่เราถ่ายรูปติด มีสิทธิขอให้ลบรูปนั้นได้หรือไม่ ?
คำตอบ : "ได้" ดังนั้น ก่อนลงภาพ-คลิปอาจใช้วิธีเบลอหรือติดสติกเกอร์ทับใบหน้า
.
-นำคลิป-รูปถ่าย รีวิวร้านอาหารหรือสถานที่ท่องเที่ยว ที่ติดใบหน้าคนอื่นไปโพสต์โซเชียลมีเดียผิดหรือไม่ ?
คำตอบ : "ไม่ผิด" สามารถโพสต์ได้ หากใช้เพื่อวัตถุประสงค์ส่วนตัว ไม่ใช้แสวงหากำไรทางการค้าและไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล แต่หากมีการซูมภาพหรือเน้นไปที่ใบหน้า-ร่างกายของบุคคลอื่นโดยมีเจตนาอย่างชัดเจน และใช้เชิงพาณิชย์ ถือว่า "ผิด"
- ติดกล้องหน้ารถ-กล้องวงจรปิดแล้วไม่มีป้ายแจ้งเตือนผิดหรือไม่ ?
คำตอบ : ติดกล้องวงจรปิด "ภายในบ้าน" ไม่จำเป็นต้องมีป้ายแจ้งเตือน หากเพื่อป้องกันอาชญากรรม และรักษาความปลอดภัยให้กับตัวเจ้าของบ้าน ยกเว้น! มีการซูมภาพเน้นใบหน้า-ร่างกาย แล้วนำไปใช้ประโยชน์อื่นถือว่า "ผิดกฎหมาย" ส่วนการติดกล้องวงจรปิดบริเวณอาคารสำนักงานหรือพื้นที่สาธารณะ ต้องติดป้ายแจ้งเตือน เพราะเป็นสิทธิของเจ้าของข้อมูลหรือคนที่ใช้อาคาร ซึ่งมีสิทธิที่จะรู้ว่ากำลังถูกบันทึกภาพ
.
- ถ่ายคลิป-ภาพ เจ้าหน้าที่ พนักงาน หรือบุคคลอื่นเพื่อนำไปเป็นหลักฐานดำเนินคดีทำได้หรือไม่ ?
คำตอบ : "ทำได้" เพราะถือว่าต้องสงสัยคนนั้น และถ่ายเพื่อประโยชน์สาธารณะ
แต่! ถ้าถ่ายเพื่อนำไปร้องเรียนในการให้บริการ ต้องมีการแจ้งก่อนว่าจะถ่าย เพราะบุคคลนั้นมีสิทธิที่จะรู้เพื่อป้องกันนำไปใช้ในเชิงคุกคาม
.
- เจ้าของข้อมูลต้องยินยอมทุกครั้งก่อนนำข้อมูลไปใช้ ?
คำตอบ : "ไม่จำเป็น" ต้องขอความยินยอม หากการใช้ข้อมูลดังกล่าว
- เป็นการทำตามสัญญา
- เป็นการใช้ที่มีกฎหมายให้อำนาจ
- เป็นการใช้เพื่อรักษาชีวิตและ/หรือ ร่างกายของบุคคล
- เป็นการใช้เพื่อการค้นคว้าวิจัยทางสถิติ
- เป็นการใช้เพื่อประโยชน์สาธารณะ
- เป็นการใช้เพื่อปกป้องผลประโยชน์ หรือสิทธิของตนเอง
*หมายเหตุ: หลักการข้างต้น อาจเปลี่ยนแปลงตามข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นเป็นกรณี ๆ ไปนะคะ

- ถ่ายเซลฟี่-รูปรวมกับเพื่อนในที่สาธารณะแล้วติดภาพคนอื่นผิดหรือไม่ ?
คำตอบ : ถ้าวัตถุประสงค์ตอนถ่ายเน้นที่ตัวเรา-เพื่อนเป็นหลัก เป็นสิทธิที่ทำได้ ซึ่งการมีภาพคนอื่นติดเป็นฉากหลังโดยที่เราไม่ตั้งใจ "ไม่ผิด" เพราะการจะผิดกฎหมายได้ต้องมีความจงใจหรือเจตนา
.
- คนที่เราถ่ายรูปติด มีสิทธิขอให้ลบรูปนั้นได้หรือไม่ ?
คำตอบ : "ได้" ดังนั้น ก่อนลงภาพ-คลิปอาจใช้วิธีเบลอหรือติดสติกเกอร์ทับใบหน้า
.
-นำคลิป-รูปถ่าย รีวิวร้านอาหารหรือสถานที่ท่องเที่ยว ที่ติดใบหน้าคนอื่นไปโพสต์โซเชียลมีเดียผิดหรือไม่ ?
คำตอบ : "ไม่ผิด" สามารถโพสต์ได้ หากใช้เพื่อวัตถุประสงค์ส่วนตัว ไม่ใช้แสวงหากำไรทางการค้าและไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล แต่หากมีการซูมภาพหรือเน้นไปที่ใบหน้า-ร่างกายของบุคคลอื่นโดยมีเจตนาอย่างชัดเจน และใช้เชิงพาณิชย์ ถือว่า "ผิด" .
- ถ่ายเซลฟี่-รูปรวมกับเพื่อนในที่สาธารณะแล้วติดภาพคนอื่นผิดหรือไม่ ?
คำตอบ : ถ้าวัตถุประสงค์ตอนถ่ายเน้นที่ตัวเรา-เพื่อนเป็นหลัก เป็นสิทธิที่ทำได้ ซึ่งการมีภาพคนอื่นติดเป็นฉากหลังโดยที่เราไม่ตั้งใจ "ไม่ผิด" เพราะการจะผิดกฎหมายได้ต้องมีความจงใจหรือเจตนา
.
- คนที่เราถ่ายรูปติด มีสิทธิขอให้ลบรูปนั้นได้หรือไม่ ?
คำตอบ : "ได้" ดังนั้น ก่อนลงภาพ-คลิปอาจใช้วิธีเบลอหรือติดสติกเกอร์ทับใบหน้า
.
-นำคลิป-รูปถ่าย รีวิวร้านอาหารหรือสถานที่ท่องเที่ยว ที่ติดใบหน้าคนอื่นไปโพสต์โซเชียลมีเดียผิดหรือไม่ ?
คำตอบ : "ไม่ผิด" สามารถโพสต์ได้ หากใช้เพื่อวัตถุประสงค์ส่วนตัว ไม่ใช้แสวงหากำไรทางการค้าและไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล แต่หากมีการซูมภาพหรือเน้นไปที่ใบหน้า-ร่างกายของบุคคลอื่นโดยมีเจตนาอย่างชัดเจน และใช้เชิงพาณิชย์ ถือว่า "ผิด"
- ติดกล้องหน้ารถ-กล้องวงจรปิดแล้วไม่มีป้ายแจ้งเตือนผิดหรือไม่ ?
คำตอบ : ติดกล้องวงจรปิด "ภายในบ้าน" ไม่จำเป็นต้องมีป้ายแจ้งเตือน หากเพื่อป้องกันอาชญากรรม และรักษาความปลอดภัยให้กับตัวเจ้าของบ้าน ยกเว้น! มีการซูมภาพเน้นใบหน้า-ร่างกาย แล้วนำไปใช้ประโยชน์อื่นถือว่า "ผิดกฎหมาย" ส่วนการติดกล้องวงจรปิดบริเวณอาคารสำนักงานหรือพื้นที่สาธารณะ ต้องติดป้ายแจ้งเตือน เพราะเป็นสิทธิของเจ้าของข้อมูลหรือคนที่ใช้อาคาร ซึ่งมีสิทธิที่จะรู้ว่ากำลังถูกบันทึกภาพ
.
- ถ่ายคลิป-ภาพ เจ้าหน้าที่ พนักงาน หรือบุคคลอื่นเพื่อนำไปเป็นหลักฐานดำเนินคดีทำได้หรือไม่ ?
คำตอบ : "ทำได้" เพราะถือว่าต้องสงสัยคนนั้น และถ่ายเพื่อประโยชน์สาธารณะ
แต่! ถ้าถ่ายเพื่อนำไปร้องเรียนในการให้บริการ ต้องมีการแจ้งก่อนว่าจะถ่าย เพราะบุคคลนั้นมีสิทธิที่จะรู้เพื่อป้องกันนำไปใช้ในเชิงคุกคาม
.
- เจ้าของข้อมูลต้องยินยอมทุกครั้งก่อนนำข้อมูลไปใช้ ?
คำตอบ : "ไม่จำเป็น" ต้องขอความยินยอม หากการใช้ข้อมูลดังกล่าว
- เป็นการทำตามสัญญา
- เป็นการใช้ที่มีกฎหมายให้อำนาจ
- เป็นการใช้เพื่อรักษาชีวิตและ/หรือ ร่างกายของบุคคล
- เป็นการใช้เพื่อการค้นคว้าวิจัยทางสถิติ
- เป็นการใช้เพื่อประโยชน์สาธารณะ
- เป็นการใช้เพื่อปกป้องผลประโยชน์ หรือสิทธิของตนเอง
*หมายเหตุ: หลักการข้างต้น อาจเปลี่ยนแปลงตามข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นเป็นกรณี ๆ ไปนะคะ

  • วันที่อัพเดต
    Updated

    1 มิ.ย. 2565

    1 Jun 2022

  • การเข้าชม
    Viewers

    841 ครั้ง

    841 Views